ชั้นวางพาเลทสามารถปรับเปลี่ยนความสูงและโครงสร้างได้หรือไม่?

By |2024-12-24T17:49:49+07:00ธันวาคม 24th, 2024||

ได้ค่ะ ชั้นวางพาเลทของ Kacha ออกแบบมาให้สามารถปรับความสูงของชั้นวาง และสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างเพื่อรองรับการใช้งานในอนาคต เช่น การเพิ่มชั้นวางหรือการปรับระยะห่างระหว่างชั้น

ชั้นวางสินค้าแบ่งออกเป็นกี่ประเภท?

By |2024-12-24T17:49:15+07:00ธันวาคม 24th, 2024||

ชั้นวางสินค้าสามารถแบ่งออกเป็นประเภทหลัก ๆ ได้แก่ Selective Rack: เหมาะสำหรับการหยิบสินค้าทั่วไป Drive-In/Drive-Thru Rack: เหมาะสำหรับการจัดเก็บสินค้าแน่น ๆ แบบ FIFO หรือ LIFO Flow Rack: ใช้ในระบบ FIFO สำหรับสินค้าที่เคลื่อนไหวบ่อย Cantilever

การจัดวางสินค้าบนพาเลทมีกี่วิธี?

By |2024-12-24T17:47:32+07:00ธันวาคม 24th, 2024||

การจัดวางสินค้าบนพาเลทมี 3 วิธีหลัก ได้แก่ การจัดวางแบบ Block Stacking (ซ้อนกล่องบนพาเลทเป็นชั้น) การจัดวางแบบ Brick Stacking (วางเรียงคล้ายอิฐเพื่อความมั่นคง) การจัดวางแบบ Pinwheel Stacking (วางหมุนตามมุมพาเลทเพื่อกระจายน้ำหนัก)

Rack กับ Shelf ต่างกันยังไง?

By |2024-12-24T17:48:16+07:00ธันวาคม 24th, 2024||

Rack (ชั้นวางพาเลท) เป็นชั้นวางที่ออกแบบมารองรับน้ำหนักมาก และใช้จัดเก็บสินค้าที่วางบนพาเลทเป็นหลัก Shelf (ชั้นวางทั่วไป) เหมาะสำหรับการจัดเก็บสินค้าที่มีน้ำหนักเบาหรือขนาดเล็กกว่า โดยสามารถหยิบจับสินค้าได้ง่ายโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ช่วย

ชั้นวางประเภทใดเหมาะกับการหยิบสินค้าแบบ FIFO?

By |2024-12-24T17:44:33+07:00ธันวาคม 24th, 2024||

ชั้นวางประเภท Drive-In Rack และ Flow Rack เหมาะสำหรับการหยิบสินค้าแบบ FIFO (First In, First Out) เพราะระบบนี้ช่วยให้สินค้าที่นำเข้าไปก่อนจะถูกหยิบออกมาใช้ก่อน โดยเฉพาะในคลังสินค้าที่จัดการสินค้าที่มีวันหมดอายุ เช่น อาหารหรือยา

มีการรับประกันสินค้าแม่แรงหรือไม่?

By |2024-12-13T14:04:08+07:00ธันวาคม 11th, 2024||

แม่แรงยกรถ KACHA มีการรับประกันสินค้าทุกตัว *การชำรุดจากการใช้งานไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขการรับประกันสินค้า*

แม่แรงประเภทไหนบ้างที่เหมาะจะใช้ติดรถยนต์?

By |2024-12-26T17:37:36+07:00ธันวาคม 11th, 2024||

แม่แรงที่มีความเหมาะสมในการพกติดรถยนต์ไว้ในยามฉุกเฉิน คือ แม่แรงสะพาน ขนาด 1-2 ตัน แม่แรงขวด แม่แรงจระเข้ ขนาด 3 - 5 ตัน แม่แรงกระปุก 3 - 8 ตัน และ

มีวิธีดูแลรักษาแม่แรงยังไงบ้าง?

By |2024-12-13T14:03:48+07:00ธันวาคม 11th, 2024||

1. สำหรับแม่แรงที่ใช้ระบบไฮดรอลิก ควรตรวจสอบระดับน้ำมันไฮดรอลิกอย่างสม่ำเสมอ และเติมน้ำมันหากจำเป็น โดยต้องใช้ประเภทน้ำมันที่ถูกต้องตามที่ระบุในคู่มือ 2. ไม่ควรใช้แม่แรงยกน้ำหนักเกินมาตรฐานที่ระบุไว้ เพื่อยืดอายุการใช้งานและความปลอดภัย 3. เก็บแม่แรงในที่ที่ ไม่สัมผัสกับน้ำหรือความชื้น เพื่อป้องกันการเกิดสนิม

ก่อนใช้งานแม่แรง มีข้อควรระวังอะไรบ้าง?

By |2024-12-13T14:03:23+07:00ธันวาคม 11th, 2024||

1. เลือกแม่แรงให้ถูกประเภท และสามารถรับน้ำหนักของวัตถุได้ โดยพิจารณาน้ำหนักรวมและเผื่อความปลอดภัย โดยค่าความปลอดภัยที่แนะนำ คือ เลือกใช้แม่แรงที่มีกำลังรับน้ำหนักมากกว่าน้ำหนักรถที่ต้องการยกอย่างน้อย 1.5 - 2 เท่า เช่น หากรถยนต์มีน้ำหนัก 2,000 กิโลกรัม (2 ตัน ) ควรเลือกแม่แรงที่รองรับน้ำหนักได้อย่างน้อย

แม่แรงยกรถ KACHA มีกี่แบบ เลือกอย่างไรให้ตอบโจทย์?

By |2024-12-26T17:39:59+07:00ธันวาคม 11th, 2024||

1. แม่แรงสะพาน หรือ แม่แรงกรรไกร มีลักษณะคล้ายกรรไกรสองข้าง สามารถหมุนปรับขึ้น-ลงได้ด้วยมือหมุนหรือประแจ รับน้ำหนักได้ 1 - 2 ตัน (ใช้แรงคน)2.แม่แรงขวด หรือ แม่แรงเกลียว ใช้กลไกเกลียวหมุนเพื่อสร้างแรงยกหรือดันวัตถุได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน รับน้ำหนักได้ 3.2 ตัน และ 5